แมกเนติก คอนแทคเตอร์ (Magnetic Contactor) อุปกรณ์ตัดต่อวงจรไฟฟ้า

Magnetic Contactor

 

 

มาทำรู้จักกับ แมกเนติก คอนแทคเตอร์ (Magnetic Contactor) อุปกรณ์ตัดต่อวงจรไฟฟ้า

 

 

            แมกเนติก คอนแทคเตอร์ (Magnetic Contactor) อุปกรณ์ไฟฟ้าชนิดหนึ่งซึ่งมีความสำคัญ หรือที่เรียกกันชื่อว่า คอนแทคเตอร์ (Contactor) อุปกรณ์ตัดต่อวงจรไฟฟ้าที่ใช้เพื่อเปิดและปิดหน้าสัมผัสในการตัดต่อวงจรระบบไฟฟ้า ซึ่ง Bangkok Absolute มีตัวอย่างการใช้ คอนแทคเตอร์ มาฝาก อาทิ การควบคุมระบบปั๊มน้ำ หรือมอเตอร์ และใช้งานกับเครื่องจักรของโรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ ทั้งนี้การใช้งาน คอนแทคเตอร์ ต้องพิจารณาเลือกตามความเหมาะสมกับอุปกรณ์ที่จะใช้งาน รวมทั้งขนาดของเครื่องจักรในการใช้งานด้วย เพื่อความปลอดภัยและป้องกันการเกิดความเสียหายที่จะตามมา

 

 

แมกเนติก คอนแทคเตอร์ (Magnetic Contactor) มีหน้าที่หลักอย่างไร

 

 

            การทำงานหลัก ๆ ของ แมกเนติก คอนแทคเตอร์ เมื่อมีการจ่ายไฟฟ้าไปยังขดลวดสนามแม่เหล็กที่บริเวณขากลางของแกนเหล็ก ขดลวดจะทำการสร้างสนามแม่เหล็กที่มีแรงสนามแม่เหล็กมากกว่าแรงของสปริงเพื่อดึงแกนเหล็กชุดเคลื่อนได้ ให้เคลื่อนลงมา (ON) โดยที่ คอนแทคเตอร์ จะเปลี่ยนสภาวะในการทำงาน โดยปกติถ้าแมกเนติก คอนแทคเตอร์ปิดจะเปิดวงจรจุดสัมผัสออก ส่วนแมกเนติก คอนแทคเตอร์ปกติเปิดจะทำการต่อวงจรของจุดสัมผัส และเมื่อใดก็ตามที่กระแสไฟฟ้าไม่มีการไหลผ่านเข้าไปยังขดลวดแล้ว สนามแม่เหล็กคอนแทคเตอร์ทั้งแบบปกติเปิด และแบบปกติปิดก็จะอยู่ในสภาวะเริ่มต้นอีกครั้ง

 

 

แมกเนติก คอนแทคเตอร์ (Magnetic Contactor) มีความจำเป็นต้องใช้หรือไม่

 

 

            แมกเนติก คอนแทคเตอร์ (Magnetic Contactor)  “มีความจำเป็น” สำหรับงานที่มีการใช้ปั๊มน้ำขนาดใหญ่ เครื่องปั๊มที่ใช้ในงานอุตสาหกรรม โรงงานขนาดใหญ่ เพราะต้องใช้งานหนักและใช้งานอย่างต่อเนื่อง มีความเสี่ยงที่จะเกิดความร้อน และอาจทำให้ขดลวดเกิดการไหม้ สร้างความเสียหายได้เป็นจำนวนมาก การติดตั้ง Magnetic contactor จะช่วยลดความเสี่ยง และช่วยให้การทำงานของเครื่องปั๊มในโรงงานอุตสาหกรรมมีความปลอดภัย รวมทั้งมีประสิทธิภาพการทำงานมากขึ้นด้วย ซึ่งกรณีของความจำเป็นนั้น สรุปได้ว่าก็ต้องขึ้นอยู่กับตัวอุปกรณ์ที่จะใช้ว่ามีการทำงานมากน้อยเพียงใด และเสี่ยงต่อการเกิดความเสียหายหรือไม่ 

 

 

วิธีเลือกซื้อ Magnetic Contactor

 

 

สำหรับการเลือกซื้อ Magnetic Contactor นั้นก็มีเรื่องที่ควรทราบอยู่ 3 ประการสำคัญด้วยกัน นั่นก็คือ 

     1. ประเภทของโหลด จะต้องเป็นไปตามมาตรฐานที่ IEC รองรับ อาทิเช่น AC-1 และ AC-3 เป็นต้น ซึ่งมอเตอร์ส่วนมากที่เราจะใช้ร่วมกับคอนแทคเตอร์นั้นจะเป็นแบบพวก AC-3 (Squirrel-cage motors) ซึ่งประเภทของโหลดนั้นก็จะมีหลากหลายประเภทด้วย ฉะนั้นแล้วการเลือกซื้อโดยทราบว่าโหลดเป็นแบบใดก่อนก็จะให้ความปลอดภัยได้มากกว่า 

     2. Inrush Current คอนแทคเตอร์ที่เลือกไปใช้งานนั้นจะต้องรองรับในเรื่องของกระแสที่สตาร์ทมอเตอร์ได้ด้วย เพราะไม่ใช่เพียงแค่รองรับกับการรันมอเตอร์เพียงอย่างเดียว 

     3. แรงดันของระบบไฟฟ้า แรงดันที่ใช้ในโรงงานนั้นๆ อุตสาหกรรมหนักในประเทศไทยมักจะใช้แรงดันที่สูงกว่า 440V ซึ่งอาจจะสูงถึง 690V ได้ กระแสที่ตัวคอนแทคเตอร์ทนได้นั้นขึ้นอยู่แรงดันของระบบไฟฟ้าในไซด์งานด้วย ดังนั้นตรงนี้เราก็ต้องตรวจสอบให้ดีก่อนว่าแมคเนติกที่ใช้นั้นรองรับแรงดันซัพพลายของโรงงานได้หรือไหม เพราะในแต่ละรุ่นก็จะมีฟังก์ชันที่แตกต่างกัน ทั้งนี้ก็เพื่อความเสถียรและความปลอดภัยจากการใช้งานด้วย

 

 



            นอกจากวิธีการพิจารณาสามข้อนี้แล้ว สิ่งสำคัญที่ต้องพิจารณาในการเลือกซื้อ Contactor ก็คือแบรนด์ของผลิตภัณฑ์ โดยเฉพาะ แมกเนติกคอนแทคเตอร์ จาก AAB ที่เป็นแบรนด์ผลิตภัณฑ์ไฟฟ้าชั้นนำ และมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องให้ใช้งานได้อย่างปลอดภัยในปัจจุบัน Bangkok Absolute ตัวแทนจำหน่ายอุปกรณ์ไฟฟ้าแบรนด์ชั้นนำ มีสินค้าให้เลือกซื้อตามความเหมาะสมในการใช้งาน

 

 

 

 

 



สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม

บริษัท บางกอกแอบโซลูท อิเลคทริคแอนด์คอน จํากัด

ขอใบเสนอราคา : 02-398-3389

Line : @bangkokabsolute

https://web.facebook.com/bangkokab

 

Magnetic Contactor

 

 

มาทำรู้จักกับ แมกเนติก คอนแทคเตอร์ (Magnetic Contactor) อุปกรณ์ตัดต่อวงจรไฟฟ้า

 

 

            แมกเนติก คอนแทคเตอร์ (Magnetic Contactor) อุปกรณ์ไฟฟ้าชนิดหนึ่งซึ่งมีความสำคัญ หรือที่เรียกกันชื่อว่า คอนแทคเตอร์ (Contactor) อุปกรณ์ตัดต่อวงจรไฟฟ้าที่ใช้เพื่อเปิดและปิดหน้าสัมผัสในการตัดต่อวงจรระบบไฟฟ้า ซึ่ง Bangkok Absolute มีตัวอย่างการใช้ คอนแทคเตอร์ มาฝาก อาทิ การควบคุมระบบปั๊มน้ำ หรือมอเตอร์ และใช้งานกับเครื่องจักรของโรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ ทั้งนี้การใช้งาน คอนแทคเตอร์ ต้องพิจารณาเลือกตามความเหมาะสมกับอุปกรณ์ที่จะใช้งาน รวมทั้งขนาดของเครื่องจักรในการใช้งานด้วย เพื่อความปลอดภัยและป้องกันการเกิดความเสียหายที่จะตามมา

 

 

แมกเนติก คอนแทคเตอร์ (Magnetic Contactor) มีหน้าที่หลักอย่างไร

 

 

            การทำงานหลัก ๆ ของ แมกเนติก คอนแทคเตอร์ เมื่อมีการจ่ายไฟฟ้าไปยังขดลวดสนามแม่เหล็กที่บริเวณขากลางของแกนเหล็ก ขดลวดจะทำการสร้างสนามแม่เหล็กที่มีแรงสนามแม่เหล็กมากกว่าแรงของสปริงเพื่อดึงแกนเหล็กชุดเคลื่อนได้ ให้เคลื่อนลงมา (ON) โดยที่ คอนแทคเตอร์ จะเปลี่ยนสภาวะในการทำงาน โดยปกติถ้าแมกเนติก คอนแทคเตอร์ปิดจะเปิดวงจรจุดสัมผัสออก ส่วนแมกเนติก คอนแทคเตอร์ปกติเปิดจะทำการต่อวงจรของจุดสัมผัส และเมื่อใดก็ตามที่กระแสไฟฟ้าไม่มีการไหลผ่านเข้าไปยังขดลวดแล้ว สนามแม่เหล็กคอนแทคเตอร์ทั้งแบบปกติเปิด และแบบปกติปิดก็จะอยู่ในสภาวะเริ่มต้นอีกครั้ง

 

 

แมกเนติก คอนแทคเตอร์ (Magnetic Contactor) มีความจำเป็นต้องใช้หรือไม่

 

 

            แมกเนติก คอนแทคเตอร์ (Magnetic Contactor)  “มีความจำเป็น” สำหรับงานที่มีการใช้ปั๊มน้ำขนาดใหญ่ เครื่องปั๊มที่ใช้ในงานอุตสาหกรรม โรงงานขนาดใหญ่ เพราะต้องใช้งานหนักและใช้งานอย่างต่อเนื่อง มีความเสี่ยงที่จะเกิดความร้อน และอาจทำให้ขดลวดเกิดการไหม้ สร้างความเสียหายได้เป็นจำนวนมาก การติดตั้ง Magnetic contactor จะช่วยลดความเสี่ยง และช่วยให้การทำงานของเครื่องปั๊มในโรงงานอุตสาหกรรมมีความปลอดภัย รวมทั้งมีประสิทธิภาพการทำงานมากขึ้นด้วย ซึ่งกรณีของความจำเป็นนั้น สรุปได้ว่าก็ต้องขึ้นอยู่กับตัวอุปกรณ์ที่จะใช้ว่ามีการทำงานมากน้อยเพียงใด และเสี่ยงต่อการเกิดความเสียหายหรือไม่ 

 

 

วิธีเลือกซื้อ Magnetic Contactor

 

 

สำหรับการเลือกซื้อ Magnetic Contactor นั้นก็มีเรื่องที่ควรทราบอยู่ 3 ประการสำคัญด้วยกัน นั่นก็คือ 

     1. ประเภทของโหลด จะต้องเป็นไปตามมาตรฐานที่ IEC รองรับ อาทิเช่น AC-1 และ AC-3 เป็นต้น ซึ่งมอเตอร์ส่วนมากที่เราจะใช้ร่วมกับคอนแทคเตอร์นั้นจะเป็นแบบพวก AC-3 (Squirrel-cage motors) ซึ่งประเภทของโหลดนั้นก็จะมีหลากหลายประเภทด้วย ฉะนั้นแล้วการเลือกซื้อโดยทราบว่าโหลดเป็นแบบใดก่อนก็จะให้ความปลอดภัยได้มากกว่า 

    อุปกรณ์ตัดต่อวงจรไฟฟ้า  2. Inrush Current คอนแทคเตอร์ที่เลือกไปใช้งานนั้นจะต้องรองรับในเรื่องของกระแสที่สตาร์ทมอเตอร์ได้ด้วย เพราะไม่ใช่เพียงแค่รองรับกับการรันมอเตอร์เพียงอย่างเดียว 

     3. แรงดันของระบบไฟฟ้า แรงดันที่ใช้ในโรงงานนั้นๆ อุตสาหกรรมหนักในประเทศไทยมักจะใช้แรงดันที่สูงกว่า 440V ซึ่งอาจจะสูงถึง 690V ได้ กระแสที่ตัวคอนแทคเตอร์ทนได้นั้นขึ้นอยู่แรงดันของระบบไฟฟ้าในไซด์งานด้วย ดังนั้นตรงนี้เราก็ต้องตรวจสอบให้ดีก่อนว่าแมคเนติกที่ใช้นั้นรองรับแรงดันซัพพลายของโรงงานได้หรือไหม เพราะในแต่ละรุ่นก็จะมีฟังก์ชันที่แตกต่างกัน ทั้งนี้ก็เพื่อความเสถียรและความปลอดภัยจากการใช้งานด้วย

 

 



            นอกจากวิธีการพิจารณาสามข้อนี้แล้ว สิ่งสำคัญที่ต้องพิจารณาในการเลือกซื้อ Contactor ก็คือแบรนด์ของผลิตภัณฑ์ โดยเฉพาะ แมกเนติกคอนแทคเตอร์ จาก AAB ที่เป็นแบรนด์ผลิตภัณฑ์ไฟฟ้าชั้นนำ และมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องให้ใช้งานได้อย่างปลอดภัยในปัจจุบัน Bangkok Absolute ตัวแทนจำหน่ายอุปกรณ์ไฟฟ้าแบรนด์ชั้นนำ มีสินค้าให้เลือกซื้อตามความเหมาะสมในการใช้งาน

 

 

 

 

 



สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม

บริษัท บางกอกแอบโซลูท อิเลคทริคแอนด์คอน จํากัด

ขอใบเสนอราคา : 02-398-3389

Line : @bangkokabsolute

https://web.facebook.com/bangkokab

แมกเนติก คอนแทคเตอร์ (Magnetic Contactor) อุปกรณ์ตัดต่อวงจรไฟฟ้า

Magnetic Contactor

 

 

มาทำรู้จักกับ แมกเนติก คอนแทคเตอร์ (Magnetic Contactor) อุปกรณ์ตัดต่อวงจรไฟฟ้า

 

 

            แมกเนติก คอนแทคเตอร์ (Magnetic Contactor) อุปกรณ์ไฟฟ้าชนิดหนึ่งซึ่งมีความสำคัญ หรือที่เรียกกันชื่อว่า คอนแทคเตอร์ (Contactor) อุปกรณ์ตัดต่อวงจรไฟฟ้าที่ใช้เพื่อเปิดและปิดหน้าสัมผัสในการตัดต่อวงจรระบบไฟฟ้า ซึ่ง Bangkok Absolute มีตัวอย่างการใช้ คอนแทคเตอร์ มาฝาก อาทิ การควบคุมระบบปั๊มน้ำ หรือมอเตอร์ และใช้งานกับเครื่องจักรของโรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ ทั้งนี้การใช้งาน คอนแทคเตอร์ ต้องพิจารณาเลือกตามความเหมาะสมกับอุปกรณ์ที่จะใช้งาน รวมทั้งขนาดของเครื่องจักรในการใช้งานด้วย เพื่อความปลอดภัยและป้องกันการเกิดความเสียหายที่จะตามมา

 

 

แมกเนติก คอนแทคเตอร์ (Magnetic Contactor) มีหน้าที่หลักอย่างไร

 

 

            การทำงานหลัก ๆ ของ แมกเนติก คอนแทคเตอร์ เมื่อมีการจ่ายไฟฟ้าไปยังขดลวดสนามแม่เหล็กที่บริเวณขากลางของแกนเหล็ก ขดลวดจะทำการสร้างสนามแม่เหล็กที่มีแรงสนามแม่เหล็กมากกว่าแรงของสปริงเพื่อดึงแกนเหล็กชุดเคลื่อนได้ ให้เคลื่อนลงมา (ON) โดยที่ คอนแทคเตอร์ จะเปลี่ยนสภาวะในการทำงาน โดยปกติถ้าแมกเนติก คอนแทคเตอร์ปิดจะเปิดวงจรจุดสัมผัสออก ส่วนแมกเนติก คอนแทคเตอร์ปกติเปิดจะทำการต่อวงจรของจุดสัมผัส และเมื่อใดก็ตามที่กระแสไฟฟ้าไม่มีการไหลผ่านเข้าไปยังขดลวดแล้ว สนามแม่เหล็กคอนแทคเตอร์ทั้งแบบปกติเปิด และแบบปกติปิดก็จะอยู่ในสภาวะเริ่มต้นอีกครั้ง

 

 

แมกเนติก คอนแทคเตอร์ (Magnetic Contactor) มีความจำเป็นต้องใช้หรือไม่

 

 

            แมกเนติก คอนแทคเตอร์ (Magnetic Contactor)  “มีความจำเป็น” สำหรับงานที่มีการใช้ปั๊มน้ำขนาดใหญ่ เครื่องปั๊มที่ใช้ในงานอุตสาหกรรม โรงงานขนาดใหญ่ เพราะต้องใช้งานหนักและใช้งานอย่างต่อเนื่อง มีความเสี่ยงที่จะเกิดความร้อน และอาจทำให้ขดลวดเกิดการไหม้ สร้างความเสียหายได้เป็นจำนวนมาก การติดตั้ง Magnetic contactor จะช่วยลดความเสี่ยง และช่วยให้การทำงานของเครื่องปั๊มในโรงงานอุตสาหกรรมมีความปลอดภัย รวมทั้งมีประสิทธิภาพการทำงานมากขึ้นด้วย ซึ่งกรณีของความจำเป็นนั้น สรุปได้ว่าก็ต้องขึ้นอยู่กับตัวอุปกรณ์ที่จะใช้ว่ามีการทำงานมากน้อยเพียงใด และเสี่ยงต่อการเกิดความเสียหายหรือไม่ 

 

 

วิธีเลือกซื้อ Magnetic Contactor

 

 

สำหรับการเลือกซื้อ Magnetic Contactor นั้นก็มีเรื่องที่ควรทราบอยู่ 3 ประการสำคัญด้วยกัน นั่นก็คือ 

     1. ประเภทของโหลด จะต้องเป็นไปตามมาตรฐานที่ IEC รองรับ อาทิเช่น AC-1 และ AC-3 เป็นต้น ซึ่งมอเตอร์ส่วนมากที่เราจะใช้ร่วมกับคอนแทคเตอร์นั้นจะเป็นแบบพวก AC-3 (Squirrel-cage motors) ซึ่งประเภทของโหลดนั้นก็จะมีหลากหลายประเภทด้วย ฉะนั้นแล้วการเลือกซื้อโดยทราบว่าโหลดเป็นแบบใดก่อนก็จะให้ความปลอดภัยได้มากกว่า 

     2. Inrush Current คอนแทคเตอร์ที่เลือกไปใช้งานนั้นจะต้องรองรับในเรื่องของกระแสที่สตาร์ทมอเตอร์ได้ด้วย เพราะไม่ใช่เพียงแค่รองรับกับการรันมอเตอร์เพียงอย่างเดียว 

     3. แรงดันของระบบไฟฟ้า แรงดันที่ใช้ในโรงงานนั้นๆ อุตสาหกรรมหนักในประเทศไทยมักจะใช้แรงดันที่สูงกว่า 440V ซึ่งอาจจะสูงถึง 690V ได้ กระแสที่ตัวคอนแทคเตอร์ทนได้นั้นขึ้นอยู่แรงดันของระบบไฟฟ้าในไซด์งานด้วย ดังนั้นตรงนี้เราก็ต้องตรวจสอบให้ดีก่อนว่าแมคเนติกที่ใช้นั้นรองรับแรงดันซัพพลายของโรงงานได้หรือไหม เพราะในแต่ละรุ่นก็จะมีฟังก์ชันที่แตกต่างกัน ทั้งนี้ก็เพื่อความเสถียรและความปลอดภัยจากการใช้งานด้วย

 

 



            นอกจากวิธีการพิจารณาสามข้อนี้แล้ว สิ่งสำคัญที่ต้องพิจารณาในการเลือกซื้อ Contactor ก็คือแบรนด์ของผลิตภัณฑ์ โดยเฉพาะ แมกเนติกคอนแทคเตอร์ จาก AAB ที่เป็นแบรนด์ผลิตภัณฑ์ไฟฟ้าชั้นนำ และมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องให้ใช้งานได้อย่างปลอดภัยในปัจจุบัน Bangkok Absolute ตัวแทนจำหน่ายอุปกรณ์ไฟฟ้าแบรนด์ชั้นนำ มีสินค้าให้เลือกซื้อตามความเหมาะสมในการใช้งาน

 

 

 

 

 



สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม

บริษัท บางกอกแอบโซลูท อิเลคทริคแอนด์คอน จํากัด

ขอใบเสนอราคา : 02-398-3389

Line : @bangkokabsolute

https://web.facebook.com/bangkokab

 

Magnetic Contactor

 

 

มาทำรู้จักกับ แมกเนติก คอนแทคเตอร์ (Magnetic Contactor) อุปกรณ์ตัดต่อวงจรไฟฟ้า

 

 

            แมกเนติก คอนแทคเตอร์ (Magnetic Contactor) อุปกรณ์ไฟฟ้าชนิดหนึ่งซึ่งมีความสำคัญ หรือที่เรียกกันชื่อว่า คอนแทคเตอร์ (Contactor) อุปกรณ์ตัดต่อวงจรไฟฟ้าที่ใช้เพื่อเปิดและปิดหน้าสัมผัสในการตัดต่อวงจรระบบไฟฟ้า ซึ่ง Bangkok Absolute มีตัวอย่างการใช้ คอนแทคเตอร์ มาฝาก อาทิ การควบคุมระบบปั๊มน้ำ หรือมอเตอร์ และใช้งานกับเครื่องจักรของโรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ ทั้งนี้การใช้งาน คอนแทคเตอร์ ต้องพิจารณาเลือกตามความเหมาะสมกับอุปกรณ์ที่จะใช้งาน รวมทั้งขนาดของเครื่องจักรในการใช้งานด้วย เพื่อความปลอดภัยและป้องกันการเกิดความเสียหายที่จะตามมา

 

 

แมกเนติก คอนแทคเตอร์ (Magnetic Contactor) มีหน้าที่หลักอย่างไร

 

 

            การทำงานหลัก ๆ ของ แมกเนติก คอนแทคเตอร์ เมื่อมีการจ่ายไฟฟ้าไปยังขดลวดสนามแม่เหล็กที่บริเวณขากลางของแกนเหล็ก ขดลวดจะทำการสร้างสนามแม่เหล็กที่มีแรงสนามแม่เหล็กมากกว่าแรงของสปริงเพื่อดึงแกนเหล็กชุดเคลื่อนได้ ให้เคลื่อนลงมา (ON) โดยที่ คอนแทคเตอร์ จะเปลี่ยนสภาวะในการทำงาน โดยปกติถ้าแมกเนติก คอนแทคเตอร์ปิดจะเปิดวงจรจุดสัมผัสออก ส่วนแมกเนติก คอนแทคเตอร์ปกติเปิดจะทำการต่อวงจรของจุดสัมผัส และเมื่อใดก็ตามที่กระแสไฟฟ้าไม่มีการไหลผ่านเข้าไปยังขดลวดแล้ว สนามแม่เหล็กคอนแทคเตอร์ทั้งแบบปกติเปิด และแบบปกติปิดก็จะอยู่ในสภาวะเริ่มต้นอีกครั้ง

 

 

แมกเนติก คอนแทคเตอร์ (Magnetic Contactor) มีความจำเป็นต้องใช้หรือไม่

 

 

        แมกเนติก คอนแทคเตอร์     แมกเนติก คอนแทคเตอร์ (Magnetic Contactor)  “มีความจำเป็น” สำหรับงานที่มีการใช้ปั๊มน้ำขนาดใหญ่ เครื่องปั๊มที่ใช้ในงานอุตสาหกรรม โรงงานขนาดใหญ่ เพราะต้องใช้งานหนักและใช้งานอย่างต่อเนื่อง มีความเสี่ยงที่จะเกิดความร้อน และอาจทำให้ขดลวดเกิดการไหม้ สร้างความเสียหายได้เป็นจำนวนมาก การติดตั้ง Magnetic contactor จะช่วยลดความเสี่ยง และช่วยให้การทำงานของเครื่องปั๊มในโรงงานอุตสาหกรรมมีความปลอดภัย รวมทั้งมีประสิทธิภาพการทำงานมากขึ้นด้วย ซึ่งกรณีของความจำเป็นนั้น สรุปได้ว่าก็ต้องขึ้นอยู่กับตัวอุปกรณ์ที่จะใช้ว่ามีการทำงานมากน้อยเพียงใด และเสี่ยงต่อการเกิดความเสียหายหรือไม่ 

 

 

วิธีเลือกซื้อ Magnetic Contactor

 

 

สำหรับการเลือกซื้อ Magnetic Contactor นั้นก็มีเรื่องที่ควรทราบอยู่ 3 ประการสำคัญด้วยกัน นั่นก็คือ 

     1. ประเภทของโหลด จะต้องเป็นไปตามมาตรฐานที่ IEC รองรับ อาทิเช่น AC-1 และ AC-3 เป็นต้น ซึ่งมอเตอร์ส่วนมากที่เราจะใช้ร่วมกับคอนแทคเตอร์นั้นจะเป็นแบบพวก AC-3 (Squirrel-cage motors) ซึ่งประเภทของโหลดนั้นก็จะมีหลากหลายประเภทด้วย ฉะนั้นแล้วการเลือกซื้อโดยทราบว่าโหลดเป็นแบบใดก่อนก็จะให้ความปลอดภัยได้มากกว่า 

     2. Inrush Current คอนแทคเตอร์ที่เลือกไปใช้งานนั้นจะต้องรองรับในเรื่องของกระแสที่สตาร์ทมอเตอร์ได้ด้วย เพราะไม่ใช่เพียงแค่รองรับกับการรันมอเตอร์เพียงอย่างเดียว 

     3. แรงดันของระบบไฟฟ้า แรงดันที่ใช้ในโรงงานนั้นๆ อุตสาหกรรมหนักในประเทศไทยมักจะใช้แรงดันที่สูงกว่า 440V ซึ่งอาจจะสูงถึง 690V ได้ กระแสที่ตัวคอนแทคเตอร์ทนได้นั้นขึ้นอยู่แรงดันของระบบไฟฟ้าในไซด์งานด้วย ดังนั้นตรงนี้เราก็ต้องตรวจสอบให้ดีก่อนว่าแมคเนติกที่ใช้นั้นรองรับแรงดันซัพพลายของโรงงานได้หรือไหม เพราะในแต่ละรุ่นก็จะมีฟังก์ชันที่แตกต่างกัน ทั้งนี้ก็เพื่อความเสถียรและความปลอดภัยจากการใช้งานด้วย

 

 



            นอกจากวิธีการพิจารณาสามข้อนี้แล้ว สิ่งสำคัญที่ต้องพิจารณาในการเลือกซื้อ Contactor ก็คือแบรนด์ของผลิตภัณฑ์ โดยเฉพาะ แมกเนติกคอนแทคเตอร์ จาก AAB ที่เป็นแบรนด์ผลิตภัณฑ์ไฟฟ้าชั้นนำ และมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องให้ใช้งานได้อย่างปลอดภัยในปัจจุบัน Bangkok Absolute ตัวแทนจำหน่ายอุปกรณ์ไฟฟ้าแบรนด์ชั้นนำ มีสินค้าให้เลือกซื้อตามความเหมาะสมในการใช้งาน

 

 

 

 

 



สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม

บริษัท บางกอกแอบโซลูท อิเลคทริคแอนด์คอน จํากัด

ขอใบเสนอราคา : 02-398-3389

Line : @bangkokabsolute

https://web.facebook.com/bangkokab

แมกเนติก คอนแทคเตอร์ (Magnetic Contactor) อุปกรณ์ตัดต่อวงจรไฟฟ้า

Magnetic Contactor

 

 

มาทำรู้จักกับ แมกเนติก คอนแทคเตอร์ (Magnetic Contactor) อุปกรณ์ตัดต่อวงจรไฟฟ้า

 

 

            แมกเนติก คอนแทคเตอร์ (Magnetic Contactor) อุปกรณ์ไฟฟ้าชนิดหนึ่งซึ่งมีความสำคัญ หรือที่เรียกกันชื่อว่า คอนแทคเตอร์ (Contactor) อุปกรณ์ตัดต่อวงจรไฟฟ้าที่ใช้เพื่อเปิดและปิดหน้าสัมผัสในการตัดต่อวงจรระบบไฟฟ้า ซึ่ง Bangkok Absolute มีตัวอย่างการใช้ คอนแทคเตอร์ มาฝาก อาทิ การควบคุมระบบปั๊มน้ำ หรือมอเตอร์ และใช้งานกับเครื่องจักรของโรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ ทั้งนี้การใช้งาน คอนแทคเตอร์ ต้องพิจารณาเลือกตามความเหมาะสมกับอุปกรณ์ที่จะใช้งาน รวมทั้งขนาดของเครื่องจักรในการใช้งานด้วย เพื่อความปลอดภัยและป้องกันการเกิดความเสียหายที่จะตามมา

 

 

แมกเนติก คอนแทคเตอร์ (Magnetic Contactor) มีหน้าที่หลักอย่างไร

 

 

            การทำงานหลัก ๆ ของ แมกเนติก คอนแทคเตอร์ เมื่อมีการจ่ายไฟฟ้าไปยังขดลวดสนามแม่เหล็กที่บริเวณขากลางของแกนเหล็ก ขดลวดจะทำการสร้างสนามแม่เหล็กที่มีแรงสนามแม่เหล็กมากกว่าแรงของสปริงเพื่อดึงแกนเหล็กชุดเคลื่อนได้ ให้เคลื่อนลงมา (ON) โดยที่ คอนแทคเตอร์ จะเปลี่ยนสภาวะในการทำงาน โดยปกติถ้าแมกเนติก คอนแทคเตอร์ปิดจะเปิดวงจรจุดสัมผัสออก ส่วนแมกเนติก คอนแทคเตอร์ปกติเปิดจะทำการต่อวงจรของจุดสัมผัส และเมื่อใดก็ตามที่กระแสไฟฟ้าไม่มีการไหลผ่านเข้าไปยังขดลวดแล้ว สนามแม่เหล็กคอนแทคเตอร์ทั้งแบบปกติเปิด และแบบปกติปิดก็จะอยู่ในสภาวะเริ่มต้นอีกครั้ง

 

 

แมกเนติก คอนแทคเตอร์ (Magnetic Contactor) มีความจำเป็นต้องใช้หรือไม่

 

 

            แมกเนติก คอนแทคเตอร์ (Magnetic Contactor)  “มีความจำเป็น” สำหรับงานที่มีการใช้ปั๊มน้ำขนาดใหญ่ เครื่องปั๊มที่ใช้ในงานอุตสาหกรรม โรงงานขนาดใหญ่ เพราะต้องใช้งานหนักและใช้งานอย่างต่อเนื่อง มีความเสี่ยงที่จะเกิดความร้อน และอาจทำให้ขดลวดเกิดการไหม้ สร้างความเสียหายได้เป็นจำนวนมาก การติดตั้ง Magnetic contactor จะช่วยลดความเสี่ยง และช่วยให้การทำงานของเครื่องปั๊มในโรงงานอุตสาหกรรมมีความปลอดภัย รวมทั้งมีประสิทธิภาพการทำงานมากขึ้นด้วย ซึ่งกรณีของความจำเป็นนั้น สรุปได้ว่าก็ต้องขึ้นอยู่กับตัวอุปกรณ์ที่จะใช้ว่ามีการทำงานมากน้อยเพียงใด และเสี่ยงต่อการเกิดความเสียหายหรือไม่ 

 

 

วิธีเลือกซื้อ Magnetic Contactor

 

 

สำหรับการเลือกซื้อ Magnetic Contactor นั้นก็มีเรื่องที่ควรทราบอยู่ 3 ประการสำคัญด้วยกัน นั่นก็คือ 

     1. ประเภทของโหลด จะต้องเป็นไปตามมาตรฐานที่ IEC รองรับ อาทิเช่น AC-1 และ AC-3 เป็นต้น ซึ่งมอเตอร์ส่วนมากที่เราจะใช้ร่วมกับคอนแทคเตอร์นั้นจะเป็นแบบพวก AC-3 (Squirrel-cage motors) ซึ่งประเภทของโหลดนั้นก็จะมีหลากหลายประเภทด้วย ฉะนั้นแล้วการเลือกซื้อโดยทราบว่าโหลดเป็นแบบใดก่อนก็จะให้ความปลอดภัยได้มากกว่า 

     2. Inrush Current คอนแทคเตอร์ที่เลือกไปใช้งานนั้นจะต้องรองรับในเรื่องของกระแสที่สตาร์ทมอเตอร์ได้ด้วย เพราะไม่ใช่เพียงแค่รองรับกับการรันมอเตอร์เพียงอย่างเดียว 

     3. แรงดันของระบบไฟฟ้า แรงดันที่ใช้ในโรงงานนั้นๆ อุตสาหกรรมหนักในประเทศไทยมักจะใช้แรงดันที่สูงกว่า 440V ซึ่งอาจจะสูงถึง 690V ได้ กระแสที่ตัวคอนแทคเตอร์ทนได้นั้นขึ้นอยู่แรงดันของระบบไฟฟ้าในไซด์งานด้วย ดังนั้นตรงนี้เราก็ต้องตรวจสอบให้ดีก่อนว่าแมคเนติกที่ใช้นั้นรองรับแรงดันซัพพลายของโรงงานได้หรือไหม เพราะในแต่ละรุ่นก็จะมีฟังก์ชันที่แตกต่างกัน ทั้งนี้ก็เพื่อความเสถียรและความปลอดภัยจากการใช้งานด้วย

 

 



            นอกจากวิธีการพิจารณาสามข้อนี้แล้ว อุปกรณ์ตัดต่อวงจรไฟฟ้า สิ่งสำคัญที่ต้องพิจารณาในการเลือกซื้อ Contactor ก็คือแบรนด์ของผลิตภัณฑ์ โดยเฉพาะ แมกเนติกคอนแทคเตอร์ จาก AAB ที่เป็นแบรนด์ผลิตภัณฑ์ไฟฟ้าชั้นนำ และมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องให้ใช้งานได้อย่างปลอดภัยในปัจจุบัน Bangkok Absolute ตัวแทนจำหน่ายอุปกรณ์ไฟฟ้าแบรนด์ชั้นนำ มีสินค้าให้เลือกซื้อตามความเหมาะสมในการใช้งาน

 

 

 

 

 



สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม

บริษัท บางกอกแอบโซลูท อิเลคทริคแอนด์คอน จํากัด

ขอใบเสนอราคา : 02-398-3389

Line : @bangkokabsolute

https://web.facebook.com/bangkokab

 

Magnetic Contactor

 

 

มาทำรู้จักกับ แมกเนติก คอนแทคเตอร์ (Magnetic Contactor) อุปกรณ์ตัดต่อวงจรไฟฟ้า

 

 

            แมกเนติก คอนแทคเตอร์ (Magnetic Contactor) อุปกรณ์ไฟฟ้าชนิดหนึ่งซึ่งมีความสำคัญ หรือที่เรียกกันชื่อว่า คอนแทคเตอร์ (Contactor) อุปกรณ์ตัดต่อวงจรไฟฟ้าที่ใช้เพื่อเปิดและปิดหน้าสัมผัสในการตัดต่อวงจรระบบไฟฟ้า ซึ่ง Bangkok Absolute มีตัวอย่างการใช้ คอนแทคเตอร์ มาฝาก อาทิ การควบคุมระบบปั๊มน้ำ หรือมอเตอร์ และใช้งานกับเครื่องจักรของโรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ ทั้งนี้การใช้งาน คอนแทคเตอร์ ต้องพิจารณาเลือกตามความเหมาะสมกับอุปกรณ์ที่จะใช้งาน รวมทั้งขนาดของเครื่องจักรในการใช้งานด้วย เพื่อความปลอดภัยและป้องกันการเกิดความเสียหายที่จะตามมา

 

 

แมกเนติก คอนแทคเตอร์ (Magnetic Contactor) มีหน้าที่หลักอย่างไร

 

 

            การทำงานหลัก ๆ ของ แมกเนติก คอนแทคเตอร์ เมื่อมีการจ่ายไฟฟ้าไปยังขดลวดสนามแม่เหล็กที่บริเวณขากลางของแกนเหล็ก ขดลวดจะทำการสร้างสนามแม่เหล็กที่มีแรงสนามแม่เหล็กมากกว่าแรงของสปริงเพื่อดึงแกนเหล็กชุดเคลื่อนได้ ให้เคลื่อนลงมา (ON) โดยที่ คอนแทคเตอร์ จะเปลี่ยนสภาวะในการทำงาน โดยปกติถ้าแมกเนติก คอนแทคเตอร์ปิดจะเปิดวงจรจุดสัมผัสออก ส่วนแมกเนติก คอนแทคเตอร์ปกติเปิดจะทำการต่อวงจรของจุดสัมผัส และเมื่อใดก็ตามที่กระแสไฟฟ้าไม่มีการไหลผ่านเข้าไปยังขดลวดแล้ว สนามแม่เหล็กคอนแทคเตอร์ทั้งแบบปกติเปิด และแบบปกติปิดก็จะอยู่ในสภาวะเริ่มต้นอีกครั้ง

 

 

แมกเนติก คอนแทคเตอร์ (Magnetic Contactor) มีความจำเป็นต้องใช้หรือไม่

 

 

            แมกเนติก คอนแทคเตอร์ (Magnetic Contactor)  “มีความจำเป็น” สำหรับงานที่มีการใช้ปั๊มน้ำขนาดใหญ่ เครื่องปั๊มที่ใช้ในงานอุตสาหกรรม โรงงานขนาดใหญ่ เพราะต้องใช้งานหนักและใช้งานอย่างต่อเนื่อง มีความเสี่ยงที่จะเกิดความร้อน และอาจทำให้ขดลวดเกิดการไหม้ สร้างความเสียหายได้เป็นจำนวนมาก การติดตั้ง Magnetic contactor จะช่วยลดความเสี่ยง และช่วยให้การทำงานของเครื่องปั๊มในโรงงานอุตสาหกรรมมีความปลอดภัย รวมทั้งมีประสิทธิภาพการทำงานมากขึ้นด้วย ซึ่งกรณีของความจำเป็นนั้น สรุปได้ว่าก็ต้องขึ้นอยู่กับตัวอุปกรณ์ที่จะใช้ว่ามีการทำงานมากน้อยเพียงใด และเสี่ยงต่อการเกิดความเสียหายหรือไม่ 

 

 

วิธีเลือกซื้อ Magnetic Contactor

 

 

สำหรับการเลือกซื้อ Magnetic Contactor นั้นก็มีเรื่องที่ควรทราบอยู่ 3 ประการสำคัญด้วยกัน นั่นก็คือ 

     1. ประเภทของโหลด จะต้องเป็นไปตามมาตรฐานที่ IEC รองรับ อาทิเช่น AC-1 และ AC-3 เป็นต้น ซึ่งมอเตอร์ส่วนมากที่เราจะใช้ร่วมกับคอนแทคเตอร์นั้นจะเป็นแบบพวก AC-3 (Squirrel-cage motors) ซึ่งประเภทของโหลดนั้นก็จะมีหลากหลายประเภทด้วย ฉะนั้นแล้วการเลือกซื้อโดยทราบว่าโหลดเป็นแบบใดก่อนก็จะให้ความปลอดภัยได้มากกว่า 

     2. Inrush Current คอนแทคเตอร์ที่เลือกไปใช้งานนั้นจะต้องรองรับในเรื่องของกระแสที่สตาร์ทมอเตอร์ได้ด้วย เพราะไม่ใช่เพียงแค่รองรับกับการรันมอเตอร์เพียงอย่างเดียว 

     3. แรงดันของระบบไฟฟ้า แรงดันที่ใช้ในโรงงานนั้นๆ อุตสาหกรรมหนักในประเทศไทยมักจะใช้แรงดันที่สูงกว่า 440V ซึ่งอาจจะสูงถึง 690V ได้ กระแสที่ตัวคอนแทคเตอร์ทนได้นั้นขึ้นอยู่แรงดันของระบบไฟฟ้าในไซด์งานด้วย ดังนั้นตรงนี้เราก็ต้องตรวจสอบให้ดีก่อนว่าแมคเนติกที่ใช้นั้นรองรับแรงดันซัพพลายของโรงงานได้หรือไหม เพราะในแต่ละรุ่นก็จะมีฟังก์ชันที่แตกต่างกัน ทั้งนี้ก็เพื่อความเสถียรและความปลอดภัยจากการใช้งานด้วย

 

 



            นอกจากวิธีการพิจารณาสามข้อนี้แล้ว สิ่งสำคัญที่ต้องพิจารณาในการเลือกซื้อ Contactor ก็คือแบรนด์ของผลิตภัณฑ์ โดยเฉพาะ แมกเนติกคอนแทคเตอร์ จาก AAB ที่เป็นแบรนด์ผลิตภัณฑ์ไฟฟ้าชั้นนำ และมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องให้ใช้งานได้อย่างปลอดภัยในปัจจุบัน Bangkok Absolute ตัวแทนจำหน่ายอุปกรณ์ไฟฟ้าแบรนด์ชั้นนำ มีสินค้าให้เลือกซื้อตามความเหมาะสมในการใช้งาน

 

 

 

 

 



สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม

บริษัท บางกอกแอบโซลูท อิเลคทริคแอนด์คอน จํากัด

ขอใบเสนอราคา : 02-398-3389

Line : @bangkokabsolute

https://web.facebook.com/bangkokab

ผานพรวน (Disc Harrow) ตัวช่วยที่ดีสำหรับเตรียมหน้าดินก่อนปลูกเพาะพืช

ผานพรวน (Disc Harrow) ตัวช่วยที่ดีสำหรับเตรียมหน้าดินก่อนปลูกเพาะพืช

 

 

 

 

 

ผานพรวน สยาม สโตร่า

 

 

 

 

 

        ผานพรวน (Disc Harrow) เป็นเครื่องมือสำหรับไถเตรียมหน้าดินก่อนลงมือเพาะปลูกพืชไร่ พืชสวน โดยผานพรวนสามารถใช้ร่วมกับรถไถ รถแทรกเตอร์ เพื่อย่อยดินที่มีลักษณะก้อนโต ให้เล็กและร่วนซุยลงได้ ซึ่งผานพรวนที่ดี ควรผลิตมาจากเหล็กกล้าที่มีคุณสมบัติแข็งแรง ประสิทธิภาพดี ติดตั้งไปกับตัวรถไถได้ง่ายและมีความสมดุลกัน  นอกจากนี้ ผานพรวนสามารถทำงานได้ดีทั้งสภาพดินอ่อนและดินแข็ง หากผู้ใช้งานเข้าใจถึงการปรับตั้งคัดท้ายผานพรวนได้อย่างถูกต้อง ซึ่งเทคนิคการปรับก็ไม่มีอะไรที่ยุ่งยาก เพียงแค่ปรับความยาวของโซ่ให้เท่ากัน โดยให้ผานอยู่ตรงกลางของแทรกเตอร์ ก่อนการปรับปรุงดินให้ติดตั้งผานพรวนเข้ากับแทรกเตอร์ตามค่าที่กำหนดในแต่ละรุ่น โดยศึกษาคู่มือการใช้งานและบำรุงรักษาผานพรวนและบุกเบิก หรือสติ๊กเกอร์ที่ติดอยู่กับอุปกรณ์

 

 



กรณีที่สภาพดินแข็งหรืออ่อน

        - ปรับโซ่ข้างให้มีความยาวเท่ากัน โดยสังเกตผานให้อยู่ตรงกลางของแทรกเตอร์

        - ปรับแขนกลางที่ทำหน้าที่ควบคุมความลึก/ตื้นของผานส่วนด้านหลัง เมื่อขันเข้า ผานจะยกขึ้น ไถได้ตื้นขึ้น และเมื่อขันออก ผานจะยืดออก ไถได้ลึกขึ้น

        - แขนยกแขนขวา ทำหน้าที่ควบคุมความลึก/ตื้นของผานส่วนด้านหน้า เมื่อขันเข้า ผานจะยกขึ้น ไถได้ตื้นขึ้น และเมื่อขันออกผานจะยืดออก ไถได้ลึกขึ้น

        - ชุดสปริงคัดท้ายจะควบคุมความลึกของคัดท้าย เมื่อเจอกับสภาพดินแข็งหรือดินอ่อน

 

 

ผานพรวน สยาม สโตร่าผานพรวน

 

 

เทคนิคการปรับตั้งใบคัดท้ายและผานพรวน

 

 

        1. ผู้ใช้งานควรปรับสปริงคัดท้ายอ่อนให้มีระยะห่างกันประมาน 1-2 นิ้ว ในกรณีที่สภาพพื้นดินแข็ง

    ผานพรวน รุ่น 226     2. ผู้ใช้งานควรปรับสปริงคัดท้ายแข็ง โดยไม่ต้องมีระยะห่าง ในกรณีที่สภาพพื้นดินอ่อน

        3. ผู้ใช้งานควรลดจำนวนใบผานลง ในกรณีที่สภาพพื้นดินมีต้นหญ้าหรือฟางหนาแน่น 

 

 

        บริษัท จอบสยาม จำกัด ผู้ผลิตและจำหน่ายอุปกรณ์การเกษตร อาทิเช่น ผานพรวน ผานยกร่อง ใบคัดท้าย จอบ ใบจอบหมุน จอบหมุนโรตารี่ ใบมีดเครื่องตัดอ้อย ใบมีดโรตารี่ เครื่องตัดหญ้า เครื่องอัดฟาง และอื่นๆ ภายใต้ยี่ห้อ กิ้งก่าทอง, สยาม สโตร่า เรามุ่งเน้นผลิตและจำหน่ายสินค้าคุณภาพดี คุ้มค่า คุ้มราคา แข็งแรง ทนทาน เพื่อตอบสนองต่อความต้องการของเกษตรกรไทยเพื่อลดต้นทุนและเพิ่มกำไร

 

 

------------------------------------------------------------------------------------------

บทความที่เกี่ยวข้อง

• แนะนำ เครื่องตัดหญ้า สยาม สโตร่า ตัดหญ้าเรียบเนียนได้ทั่วทั้งแปลง

เครื่องอัดฟางรุ่น SSHB เครื่องอัดฟางประสิทธิภาพสูง ที่เกษตรกรไว้วางใจ  

มาทำความรู้จัก บริษัท ช.มั่นคง บางบอน จำกัด

“บริการทุกระดับประทับใจ ซื่อสัตย์มั่นคง ตรงเวล ราคาเป็นกันเอง”

 

 


       à¸šà¸£à¸´à¸©à¸±à¸— ช.มั่นคง บางบอน จำกัด ได้รับการจัดตั้งและจดทะเบียนตามกฎหมายไทยในปี 2555 ซึ่งก่อนหน้าได้จดทะเบียนพาณิชย์ในนาม หจก.มัลติเพอร์โพส คอนสตรัคชั่น แอนด์ ดีไซน์ ปี 2551 ขณะนี้เปิดขยายงานด้วยการ เปิดร้านจำหน่ายวัสดุก่อสร้างเพื่อรองรับตนเอง เพิ่มความสะดวก และครบวงจรให้กับบริษัทและลูกค้า โดยทางบริษัทฯ à¸šà¸£à¸´à¸à¸²à¸£à¸£à¸±à¸šà¹€à¸«à¸¡à¸²à¸žà¸£à¹‰à¸­à¸¡à¹ƒà¸«à¹‰à¸„ำปรึกษาเกี่ยวกับงานก่อสร้างทุกรูปแบบด้วยความจริงใจ สร้างผลงานด้วยทีมงานมืออาชีพของเราเองโดยไม่ได้ตัดช่วงให้ผู้อื่น รักษาเวลาและความซื่อสัตย์เสมอมา โดยลักษณะงานที่รับประกอบด้วยงานก่อสร้าง คอนโดฯ, โกดัง, โรงงาน, ถนน หล่อแผ่นผนัง Precast ฯลฯ ได้รับการยอมรับจากกลุ่มลูกค้าเสมอมา และบอกต่อ ๆ กันจากอดีตสู่ปัจจุบัน บริษัทได้พัฒนาเติบโตขึ้นโดยตลอด และได้สร้างผลงานให้เป็นที่รู้จักเพิ่มมากขึ้นทั้งในเขตพื้นที่ และนอกพื้นที่ โดยจุดเด่นของ ช.มั่นคง บางบอน คือ มีโรงงานผลิตโครงสร้างคอนกรีตสำเร็จรูปเอง ซึ่งจะช่วยประหยัดต้นทุนในการผลิต แถมช่วยประหยัดเวลาและประหยัดทรัพยากรธรรรมชาติได้เป็นอย่างดี   

 

สินค้าและบริการ จาก ช. มั่นคง บางบอน ได้แก่


• à¸œà¸¥à¸´à¸•à¹‚ครงสร้างสำเร็จรูป Precast
• à¸ˆà¸³à¸«à¸™à¹ˆà¸²à¸¢à¹‚ครงสร้างสำเร็จรูป Precast
• à¸£à¸±à¸šà¸•à¸´à¸”ตั้งโครงสร้างสำเร็จรูป Precast
• à¸£à¸±à¸šà¹€à¸«à¸¡à¸²à¸à¹ˆà¸­à¸ªà¸£à¹‰à¸²à¸‡à¹‚กดัง
• à¸£à¸±à¸šà¹€à¸«à¸¡à¸²à¸à¹ˆà¸­à¸ªà¸£à¹‰à¸²à¸‡à¹‚รงงาน
• à¸£à¸±à¸šà¹€à¸«à¸¡à¸²à¸à¹ˆà¸­à¸ªà¸£à¹‰à¸²à¸‡à¸­à¸²à¸„ารพาณิชย์
• à¸žà¸£à¹‰à¸­à¸¡à¹ƒà¸«à¹‰à¸„ำปรึกษาเกี่ยวกับงานก่อสร้างทุกรูปแบบด้วยความจริงใจด้วยทีมงานมืออาชีพของเราเอง โดยไม่ได้ตัดช่วงให้ผู้อื่นรักษาเวลาและความซื่อสัตย์

 

ผลิตโครงสร้างสำเร็จรูป


       à¸šà¸£à¸´à¸©à¸±à¸— ช. มั่นคง บางบอน จำกัด ผู้เชี่ยวชาญด้านการผลิตโครงสร้างสำเร็จรูป และติดตั้งโครงสร้างคอนกรีตสำเร็จรูป โครงสร้างสําเร็จรูป precast ข้อได้เปรียบของการติดตั้งโครงสร้างสำเร็จรูป งบประมาณถูกกว่า จำหน่ายเสาเข็ม สามารถติดตั้งเสร็จอย่างรวดเร็ว มีความมั่นคง แข็งแรง และปลอดภัย ที่ผลิตและควบคุมคุณภาพจากโรงงานที่ได้มาตรฐาน ผ่าน QC. ทุกขั้นตอน เราพร้อมให้บริการรับเหมาก่อสร้างโรงงาน รับก่อสร้างอาคาร รับก่อสร้างอาคารพาณิชย์ โดยผู้เชี่ยวชาญและทีมงานมืออาชีพที่พร้อมให้บริการลูกค้าด้วยความจริงใจ
---------------------------------------------
บทความที่เกี่ยวข้อง
• à¹€à¸žà¸£à¸²à¸°à¹€à¸«à¸•à¸¸à¹ƒà¸”พรีคาสท์คอนกรีตสำเร็จรูปถึงนิยมนำมาสร้างโกดัง โรงงาน
• à¸Š.มั่นคง บางบอน สุดยอดผู้เชี่ยวชาญงานออกแบบ รับเหมาก่อสร้างอาคารและโรงงาน
• à¹€à¸ªà¸£à¸´à¸¡à¸„วามแข็งแรงให้กับตัวอาคารด้วยโครงสร้างคอนกรีตสำเร็จรูป 

 

____________________________________________________

 

สนใจชมข้อมูลเพิ่มเติมผ่าน Marketplace

 

www.brandexdirectory.com
เว็บไซต์รวมสินค้าอุตสาหกรรมอันดับต้นๆ ของประเทศไทย

 

www.pagesthai.com
เว็บไซต์รวมรายชื่อโรงงานผลิต ซับคอนแทรค และบริการ

 

www.Brand.co.th
เว็บรวมสินค้าแบรนด์และผู้ผลิตสินค้าแบรนด์

 

www.eeczone.com
เว็บรวมรายชื่อผู้ประกอบการภาคตะวันออก


 

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15